upādāna
Sanskrit: उपादान upādāna
Pāli: उपादान upādāna
Tibetan: ལེན་པ་ len pa
Thai: อุปาทาน
English: clinging, appropriation
Italiano: afferrare, appropriazione
Grammatical information:
From the prefix upa + ādā (to take, to receive, to accept) and the kr̥t-pratyaya lyuṭ, referring either to the action itself (bhāve) or the agent (kartr̥) or the object (karman) - and here less likely to the instrument (karaṇa)
Informazioni grammaticali:
Dal prefisso upa + ādā (prendere, ricevere, accettare) e kr̥t-pratyaya lyuṭ come riferito all’azione stessa (bhāve), all’agente (kartr̥) o all’oggetto (karman) - e meno probabilmente allo strumento (karaṇa). ข้อมูล ไวยากรณ์ (วฺยากรณ) : สันสกฤต: อุปาทาน อ่าน: อุ-ปา-ทา-นะ
ข้อมูล ไวยากรณ์ (วฺยากรณ) :
สันสกฤต: อุปาทาน อ่าน: อุ-ปา-ทา-นะ
จากคำนำหน้า อุป + อาทา (รับเอา, ถือเอา) และ กฤตฺ-ปฺรตฺยย ลฺยุฏฺ อ้างอิงถึงการกระทำ(ภาเว) หรือผู้กระทำ(กรฺตฤ) หรีอ สิ่งที่ถูกกระทำ(กรฺมนฺ) - และน้อยครั้งที่อ้างอิงถึงเครื่องมือ (กรณ)
Further information:
In the 12 limbs of dependent origination (pratītyasamutpāda), clinging/appropriation stems from craving (tṛṣṇā) and causes existence/becoming (bhava, i.e. the conditions for a new rebirth).
The 5 aggregates of a liberated person are termed “clinging-aggregates” (upādāna-skandha). Here “clinging” is taken to refer to the mental defilements, and the expression is variously understood: it means that those aggregates arise from the defilements or that they are controlled by the defilements.
Ulteriori informazioni:
Nei 12 rami dell’originazione dipendente (pratītyasamutpāda) l’afferrare/appropriazione proviene dal bramare (tṛṣṇā) e causa l’esistenza/divenire (bhava cioé le condizioni per una nuova rinascita).I 5 aggregati di una persona liberata sono definiti “aggregati appropriati” (upādāna-skandha). Qui [il termine] “appropriati” è considerato come riferirsi alle afflizioni mentali e questa espressione è variamente interpretata: significa che tali aggregati sorgono dalle contaminazioni o che essi sono controllati dalle contaminazioni.
ข้อมูลเพิ่มเติม:
ในบริบทของ ปฏิจจสมุปบาท อุปาทานนี้เกิดจากกตัณหา(ตฤษฺณา) และ ทำให้เกิดภพ(ภว; ปัจจัยสำหรับการเกิดใหม่) อุปาทาน-สฺกนฺธ
ขันธ์5ของผู้ที่ยังไม่หลุดพ้นเรียกว่า "อุปาทานขันธ์"(อุปาทาน-สฺกนฺธ) ในทีนี้ "อุปาทาน" อ้างถึงกิเลส และการเข้าใจสิ่งนี้เป็นได้หลายแบบ: หมายความว่าขันธ์เกิดขึ้นจากกิเลส หรือ ขันธ์ถูกควบคุมโดยกิเลส
Examples:
Esempi:
draṣṭavyadarśanābhāvād vijñānādicatuṣṭayam |
nāstīty upādānādīni bhaviṣyanti punaḥ katham ||8||
見可見無故 識等四法無
四取等諸緣 云何當得有
| blta bya lta ba med pa’i phyir | | rnam par śes (3)pa la sogs bźi |
| yod min ñe bar len la sogs | | ji lta bur na yod par ’gyur |
Because there is no what-is-seen and no seeing, the four such as consciousness do not exist. How can clinging etc. exist?
Dal momento che non ci sono né ciò-che-è-visto né vedere, i quattro, come [per esempio] l’esistenza, non esistono. Come potrebbero [quindi] l’appropriazione/afferrare ecc. esistere?
(Mūlamadhyamakakārikā: https://www2.hf.uio.no/polyglotta/index.php?page=record&view=record&vid=27&mid=119557)
---
evaṃ vidyād upādānaṃ vyutsargād iti karmaṇaḥ |
kartuś ca karmakartṛbhyāṃ śeṣān bhāvān vibhāvayet ||13||
如破作作者 受受者亦爾
及一切諸法 亦應如是破
| de bźin ñer len śes par bya | | las daṅ byed po bsal phyir ro |
| byed pa po daṅ las dag gis | | dṅos po lhag ma śes (7)par bya |
Likewise, one should understand clinging, because act and actor are dispelled. Remaining things too should be understood by means of actor and act.
Similmente, uno dovrebbe capire che l’afferrare, l’azione di afferrare e l’attore (colui che afferra) sono dissipati e anche le cose rimanenti dovrebbero essere intese allo stesso modo dell’attore e dell’azione.
(Mūlamadhyamakakārikā: https://www2.hf.uio.no/polyglotta/index.php?page=record&view=record&vid=27&mid=119637)
---
viparyastā bhagavan sattvā upātteṣu pañcasūpādānaskandheṣu | te bhavanty anitye nitya saṃjñinaḥ | duḥkhe sukhasaṃjñinaḥ | anātmany ātmasaṃjñinaḥ | aśubhe śubhasaṃjñinaḥ |
是 故聖者勝鬘經言。世尊。凡夫眾生於五陰法 起顛倒想。謂無常常想。苦有樂想。無我我想。不淨淨想。
bcom ldan ’das sems can rnams ni zin pa’i ñe bar len pa’i phuṅ po lṅa po rnams la phyin ci log tu gyur pa ste | de dag ni mi rtag pa la rtag par ’du śes pa | sdug bsṅal ba la bde bar ’du śes pa | bdag med pa la bdag tu ’du śes pa | mi gtsaṅ ba la gtsaṅ bar ’du śes pa lags so ||
[It runs as follows]: “O Lord, the people have a miscomprehension regarding the phenomenal things consisting of five personality aggregates which cling to existence so. They have a notion of eternity on the non-eternal things, a notion of bliss regarding painful things, of substantial Ego regarding non-substantial things, and have a notion of purity regarding impure things.
[E’ come segue]: “O Signore, le persone hanno una comprensione errata riguardo le cose fenomeniche che consistono dei cinque aggregati della personalità che si afferra all’esistenza in questo modo. Essi hanno una nozione di eternità delle cose non eterne, una nozione di beatitudine riguardo le cose dolorose, di un Ego sostanziale riguardo le cose non-sostanziali e hanno una nozione di purezza riguardo le cose impure.
(Ratnagotravibhāga: https://www2.hf.uio.no/polyglotta/index.php?page=record&view=record&vid=61&mid=144387)
---
Pāli Vin 1 I,§1,2 p. 1
taṇhāpaccayā upādānaṃ,
Eng Oldenberg
from Thirst springs Attachment,
[...] dalla Sete sorge l’Attaccamento,
ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
ฉบับสยามรัฐ
ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ
(Pāli Mahāvagga: https://www2.hf.uio.no/polyglotta/index.php?page=record&view=record&vid=820&mid=1407832)
---
{1.1} avijjāpaccayā saṅkhārā saṅkhārapaccayā viññāṇaṃ
viññāṇapaccayā nāmarūpaṃ nāmarūpapaccayā saḷāyatanaṃ
saḷāyatanapaccayā phasso phassapaccayā vedanā vedanāpaccayā
taṇhā taṇhāpaccayā upādānaṃ upādānapaccayā bhavo bhavapaccayā
jāti jātipaccayā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā
sambhavanti evametassa kevalassa dukkhakkhandhassa samudayo hoti
avijjāya tveva asesavirāganirodhā saṅkhāranirodho saṅkhāranirodhā
viññāṇanirodho viññāṇanirodhā nāmarūpanirodho nāmarūpanirodhā
saḷāyatananirodho saḷāyatananirodhā phassanirodho phassanirodhā
vedanānirodho vedanānirodhā taṇhānirodho taṇhānirodhā
Upādānanirodho upādānanirodhā bhavanirodho bhavanirodhā jātinirodho
jātinirodhā jarāmaraṇaṃ sokaparidevadukkhadomanassupāyāsā
nirujjhanti evametassa kevalassa dukkhakkhandhassa nirodho hotīti.
{๑.๑} อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา สงฺขารปจฺจยา วิญฺญาณํ
วิญฺญาณปจฺจยา นามรูปํ นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ
สฬายตนปจฺจยา ผสฺโส ผสฺสปจฺจยา เวทนา เวทนาปจฺจยา
ตณฺหา ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ อุปาทานปจฺจยา ภโว ภวปจฺจยา
ชาติ ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา
สมฺภวนฺติ เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส สมุทโย โหติ
อวิชฺชาย เตฺวว อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ สงฺขารนิโรธา
วิญฺญาณนิโรโธ วิญฺญาณนิโรธา นามรูปนิโรโธ นามรูปนิโรธา
สฬายตนนิโรโธ สฬายตนนิโรธา ผสฺสนิโรโธ ผสฺสนิโรธา
เวทนานิโรโธ เวทนานิโรธา ตณฺหานิโรโธ ตณฺหานิโรธา
อุปาทานนิโรโธ อุปาทานนิโรธา ภวนิโรโธ ภวนิโรธา ชาตินิโรโธ
ชาตินิโรธา ชรามรณํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา
นิรุชฺฌนฺติ เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหตีติ ฯ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้.
อนึ่ง เพราะอวิชชานั่นแหละดับโดยไม่เหลือด้วยมรรคคือวิราคะ สังขาร จึงดับ
เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ
เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ
เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ
เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ
เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ
เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ
เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ
เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ
เพราะภพดับ ชาติจึงดับ
เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส จึงดับ
เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมดับ ด้วยประการฉะนี้.
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑
TIPITAKA Volume 4 : PALI ROMAN Vinaya Pitaka Vol 4 : Vinaya. Mahā (1):
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=4&A=1)
---
Sammādiṭṭhisuttaṃ niṭṭhitaṃ navamaṃ.
Dukkhaṃ jarāmaraṇaṃ upādānaṃ
saḷāyatanaṃ nāmarūpaṃ viññāṇaṃ
yaṃ chapade katamaṃ panāvuso vadānake
jāti taṇhā ca vedanā avijjāya catukkakā
yā cattāri pade katamā panāvuso vadānake.
Āhāro ca bhavo phasso saṅkhāro āsavapañcamo
yaṃ pañcapade katamaṃ panāvuso vadānake.
Katamanti chabbidhā vuttaṃ katamāni catubbidhā
katamo pañcavidho vutto
sabbasaṅkhārānaṃ pañcadasa padāni cāti.
สมฺมาทิฏฺฐิสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ นวมํ ฯ
ทุกฺขํ ชรามรณํ อุปาทานํ
สฬายตนํ นามรูปํ วิญฺญาณํ
ยํ ฉปเท กตมํ ปนาวุโส วทานเก
ชาติ ตณฺหา จ เวทนา อวิชฺชาย จตุกฺกกา
ยา จตฺตาริ ปเท กตมา ปนาวุโส วทานเก ฯ
อาหาโร จ ภโว ผสฺโส สงฺขาโร อาสวปญฺจโม
ยํ ปญฺจปเท กตมํ ปนาวุโส วทานเก ฯ
กตมนฺติ ฉพฺพิธา วุตฺตํ กตมานิ จตุพฺพิธา
กตโม ปญฺจวิโธ วุตฺโต
สพฺพสงฺขารานํ ปญฺจทส ปทานิ จาติ ฯ
ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็ ๖ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ทุกข์ ชรามรณะ อุปาทาน อายตนะ ๖
นามรูป วิญญาณ ๔ บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ ชาติ ตัณหา เวทนา และหมวด ๔ แห่งอวิชชา ๕
บทที่กล่าวว่าเป็นไฉน ได้แก่ อาหาร ภพ ผัสสะ สังขาร อาสวะเป็นที่ ๕ หกอย่างเป็นไฉน
ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว สี่อย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว ห้าอย่างเป็นไฉน ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้ว
บทแห่งสังขารทั้งปวง มี ๑๕ บท ฉะนี้แล.
(พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
TIPITAKA Volume 12 : PALI ROMAN Sutta Pitaka Vol 4 : Sutta. Ma. Mū.:
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=12&A=1703)